
หนังสือหย่าโดยความยินยอม
-ปรึกษากฎหมาย ทนายความลีนนท์ พงษ์ศิริสุวรรณ โทร.085-9604258 -ติดต่อทางอีเมล : leenont0859604258@yahoo.co.th -ปรึกษากฎหมายผ่านทางไลน์ ไอดีไลน์ (5) ID line : (1) @leenont หรือ (2) @leenont1 หรือ (3) @peesirilaw หรือ (4) peesirilaw (5) leenont
หนังสือหย่าโดยความยินยอม
ทำที่………………………………… วันที่ …………เดือน……………………พ.ศ.……… หนังสือฉบับนี้ทำขึ้นระหว่างนาย……………………………………อายุ…………ปี อยู่บ้านเลขที่…………….…….ตรอก/ซอย………………….………….ถนน…………… ตำบล………………………..อำเภอ…………จังหวัด…………… ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “คู่สัญญาฝ่ายที่หนึ่ง“ กับนาง……………อายุ…...…….ปี อยู่บ้านเลขที่…………ตรอก/ซอย…………………ถนน………… ตำบล……………อำเภอ………จังหวัด…………ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “คู่สัญญาฝ่ายที่สอง“ ทั้งสองฝ่ายได้ ตกลงทำหนังสือสัญญากันดังต่อไปนี้
ข้อ 1. โดยที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยจดทะเบียน สมรสกัน ณ ที่ว่าการอำเภอ/หรือที่ว่าการเขต…………………………… เมื่อวันที่………….เดือน……………………………….พ.ศ……………………
ข้อ 2. โดยเหตุที่คู่สมรสทั้งสองฝ่ายไม่ประสงค์ที่จะอยู่กินด้วยกันฉันท์สามีภริยาอีกต่อไป จึงได้ตกลงหย่าขาดจากกันโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย ในการนี้คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงจะ ไปดำเนินการจดทะเบียนหย่า ณ ที่ว่าการอำเภอ/หรือที่ว่าการเขต……………………………………… ภายในวันที่………….เดือน……………………………….พ.ศ…………………… ในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ไปจดทะเบียบหย่าภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ยอม ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งนำคดีฟ้องร้องต่อศาลเพื่อขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้หย่าได้
ข้อ 3. ความปกครองบุตรผู้เยาว์ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันปกครองบุตรผู้เยาว์ดังนี้ 3.1 ด.ช……………………………..อายุ……….ปี ให้……………………………เป็นผู้ปกครอง 3.2 ด.ญ…………………………....อายุ……….ปี ให้………….…………………เป็นผู้ปกครอง
ข้อ 4. ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันให้คู่สัญญาฝ่ายที่…………มี หน้าที่ในการจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาเล่าเรียนของบุตรผู้เยาว์เป็นเงินเดือนละ…………….. บาท โดยจ่ายให้แก่คู่สัญญาฝ่ายที่……..…….ภายในวันที่……………ของทุก ๆ เดือน ไปจนกว่าบุตรผู้เยาว์จะ บรรลุนิติภาวะหรือศึกษาเล่าเรียนจนสำเร็จชั้น………………
ข้อ 5. คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะทำการแบ่งทรัพย์สินกันดังนี้ 5.1 บ้านเลขที่…………….ให้แบ่งโดย……………………………………………………………. 5.2 ที่ดินโฉลดเลขที่…………………..ให้แบ่งโดย……………………………………………… 5.3 รถยนต์หมายเลขทะเบียน…………………ให้แบ่งโดย……………………………… 5.4 …………………………………………………………………………………………………
ข้อ 6. คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงแบ่งความรับผิดในหนี้สินดังนี้ 6.1…………………………………………………………………………………………………… 6.2……………………………………………………………………………………………………
คู่สัญญาทั้งสองได้เข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดแล้ว เห็นว่าถูกต้องตรงตามเจตนา จึง ได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยาน สัญญานี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายเก็บไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
ลงชื่อ………………………………………คู่สัญญาฝ่ายที่หนึ่ง ( .........................................) ลงชื่อ………………………………………คู่สัญญาฝ่ายที่สอง ( ........................................) ลงชื่อ……………................…………………………พยาน (........................................ ) ลงชื่อ……………...............…………………………พยาน (........................................ )
ขอเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์แต่เพียงผู้เดียว ผู้ร้องมีเหตุขัดข้องเนื่องจากผู้ร้องได้ไปติดต่อสถานทูตสหรัฐอเมริกา เพื่อยื่นขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา (ขอวีซ่า) ให้กับบุตรผู้เยาว์ แต่เจ้าหน้าที่แจ้งว่า ผู้ร้องจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากศาล หรือ ให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งแต่งตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์แต่เพียงผู้เดียวเสียก่อน ผู้ร้องจึงจะสามารถพาบุตรผู้เยาว์ เดินทางออกนอกประเทศไทย และสามารถดำเนินการผ่านขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้แนะนำให้ผู้ร้องมาดำเนินการยื่นคำร้องต่อศาลนี้ เพื่อให้ศาลมีคำสั่งแต่งตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองแต่เพียงผู้เดียวของเด็กหญิง เอ บุตรผู้เยาว์ เสียก่อนจึงจะดำเนินการให้ได้
ยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งตั้งผู้จัดการมรดก การขอเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อเจ้ามรดกตาย ทรัพย์สมบัติของเจ้ามรดก ตกเป็นของทายาททันที และก็ยังรวมถึงหนี้สินด้วย ความรับผิดก็ตกทอดมาถึงทายาทเหมือนกัน แต่ก็รับผิดในฐานะเป็นทายาทเท่านั้นไม่ใช้ฐานะส่วนตัว แม้ว่ากองมรดกจะตกทอดแก่ทายาทแล้วก็ตาม ก็อาจมีปัญหาขัดข้องในการจัดสรรแบ่งปันมรดก หรือติดตามทวงถามหนี้สินที่บุคคลอื่นเป็นหนี้เจ้ามรดกอยู่ หรือจะไปโอนที่ดินเป็นของตน เจ้าหน้าที่สำนักงานที่ดินไม่ดำเนินการให้ ลูกหนี้เจ้ามรดกไม่ยอมชำระหนี้ ธนาคารไม่ยอมให้เบิกเงินของผู้ตาย โดยต้องนำเอาคำสั่งศาลตั้งผู้นั้นเป็นผู้จัดการมรดกมาให้ดูมาแสดงเสียก่อนว่าผู้มาติดต่อนั้นศาลได้ตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้วมิฉะนั้นไม่ดำเนินการให้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ทายาทจะต้องไปดำเนินการขอให้ศาลแต่งตั้งตนเองหรือบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการมรดก ซึ่งก็จะเสียเวลาพอสมควรกว่าจะยื่นคำร้องขอและกว่าจะไต่สวนคำร้องและศาลมีคำสั่ง
|