ReadyPlanet.com
dot
รวมกฎหมายและฎีกา
dot
bulletกฎหมายทั่วไป
bulletคดีครอบครัว
bulletคำพิพากษาคดีอาญา
bulletที่ตั้งสำนักงาน
bulletซื้อขายเช่าซื้อขายฝาก
bulletครอบครองปรปรปักษ์
bulletผู้จัดการมรดก
bulletกฎหมายแรงงาน
bulletทรัพย์สินกรรมนสิทธิ์
bulletหลักฐานการกู้ยืมเงิน
bulletสัญญาตัวแทน
bulletซื้อขายที่ดิน
bulletสัญญาเช่า
bulletลาภมิควรได้
bulletผู้คำประกัน
bulletคดีล้มละลาย
bulletพ.ร.บ. ทนายความ




แบบฟอร์ม พินัยกรรมแบบธรรมดา (แบบที่หนึ่ง)

ทนายความโทร0859604258

ภาพจากซ้ายไปขวา ทนายความลีนนท์ พงษ์ศิริสุวรรณ, ทนายความภคพล มหิทธาอภิญญา, ทนายความเอกชัย อาชาโชติธรรม, ทนายความอภิวัฒน์ สุวรรณ

-ปรึกษากฎหมาย ทนายความลีนนท์ พงษ์ศิริสุวรรณ โทร.085-9604258

-ติดต่อทางอีเมล  : leenont0859604258@yahoo.co.th

-ปรึกษากฎหมายผ่านทางไลน์ ไอดีไลน์  (5) ID line  :

         (1) @leenont หรือ (2) @leenont1 หรือ (3)  @peesirilaw  หรือ (4) peesirilaw   (5)   leenont 

 

 

 

 

                                                                 พินัยกรรม

 ทำที่......................................

                           วันที่...............เดือน.............พ.ศ. .............

ข้าพเจ้า.....................อายุ............ปี อยู่บ้านเลขที่ ..........หมู่ที่...........

ถนน...........................ตำบล/แขวง............................อำเภอ/เขต........

จังหวัด..........................ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ขึ้นไว้เพื่อแสดงเจตนาว่า เมื่อข้าพเจ้าถึง

แก่กรรมให้ทรัพย์สินของข้าพเจ้าทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่จะมีต่อไปในอนาคตตก

ได้แก่..................................................แต่ผู้เดียว

 


ลงชื่อ................................................ผู้ทำพินัยกรรม

 


(ลายพิมพ์นิ้วมือของ...............................................)

 

 


ข้าพเจ้าผู้มีนามข้างท้ายนี้ขอรับรองว่า.........................ผู้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ได้ทำพินัยกรรม

และพิมพ์นิ้วมือต่อหน้าข้าพเจ้า และได้สังเกตเห็นว่าผู้ทำพินัยกรรมมีสติสัมปชัญญะบริบูรณ์ทุก

ประการ ข้าพเจ้าจึงได้ลงลายมือชื่อเป็นพยานไว้ในพินัยกรรม

 

 


ลงชื่อ.....................….....................พยาน

(......................…..................)

                ลงชื่อ............................................พยานและผู้เขียน

(............................................)

 

 

ข้อสังเกตในการทำพินัยกรรมแบบธรรมดา


1. การทำพินัยกรรมแบบนี้ จะทำโดยใช้วิธีเขียนหรือพิมพ์ก็ได้ หากใช้วิธีเขียนก็ต้องเขียนทั้งฉบับ หากใช้วิธีพิมพ์ก็ต้องพิมพ์ทั้งฉบับ

2. ผู้เขียนหรือผู้พิมพ์พินัยกรรม ใครจะเป็นผู้เขียน หรือผู้พิมพ์ก็ได้ แต่ในการเขียนต้องใช้คนๆ เดียวเขียนพินัยกรรมทั้งฉบับ และในการพิมพ์ก็ต้องใช้เครื่องพิมพ์เครื่องเดียวกันทั้งฉบับ เพื่อมิให้เกิดปัญหาแก่ทายาทเมื่อเจ้ามรดกตายแล้ว

3. ต้องลงวันเดือนปีขณะที่ทำพินัยกรรม ถ้าไม่ลงวันเดือนปีที่ทำพินัยกรรมแล้วย่อมไม่ถือว่าเป็นพินัยกรรมตามกฎหมาย

4. ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน

5. พยานทั้งสองคนตามข้อ 4 ต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมต่อหน้าผู้ทำพินัยกรรมและต่อหน้าพยานด้วยกันในขณะนั้นด้วย

6. พยานในพินัยกรรม จะต้องบรรลุนิติภาวะแล้วคืออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์หรือกรณีสมรสกันเมื่ออายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ กฎหมายก็ถือว่าบรรลุนิติภาวะแล้ว แม้อายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ และพยานดังกล่าวต้องไม่เป็นบุคคลวิกลจริต หรือบุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ทั้งต้องไม่เป็นคนหูหนวก เป็นใบ้หรือตาบอดทั้งสองข้าง

7. ผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม รวมทั้งคู่สมรสของผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม จะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้



 

ขอเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์แต่เพียงผู้เดียว 

ผู้ร้องมีเหตุขัดข้องเนื่องจากผู้ร้องได้ไปติดต่อสถานทูตสหรัฐอเมริกา เพื่อยื่นขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา (ขอวีซ่า) ให้กับบุตรผู้เยาว์ แต่เจ้าหน้าที่แจ้งว่า ผู้ร้องจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากศาล หรือ ให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งแต่งตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์แต่เพียงผู้เดียวเสียก่อน ผู้ร้องจึงจะสามารถพาบุตรผู้เยาว์ เดินทางออกนอกประเทศไทย และสามารถดำเนินการผ่านขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้แนะนำให้ผู้ร้องมาดำเนินการยื่นคำร้องต่อศาลนี้ เพื่อให้ศาลมีคำสั่งแต่งตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองแต่เพียงผู้เดียวของเด็กหญิง เอ บุตรผู้เยาว์ เสียก่อนจึงจะดำเนินการให้ได้

ยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งตั้งผู้จัดการมรดก

การขอเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อเจ้ามรดกตาย  ทรัพย์สมบัติของเจ้ามรดก ตกเป็นของทายาททันที และก็ยังรวมถึงหนี้สินด้วย ความรับผิดก็ตกทอดมาถึงทายาทเหมือนกัน  แต่ก็รับผิดในฐานะเป็นทายาทเท่านั้นไม่ใช้ฐานะส่วนตัว แม้ว่ากองมรดกจะตกทอดแก่ทายาทแล้วก็ตาม  ก็อาจมีปัญหาขัดข้องในการจัดสรรแบ่งปันมรดก หรือติดตามทวงถามหนี้สินที่บุคคลอื่นเป็นหนี้เจ้ามรดกอยู่ หรือจะไปโอนที่ดินเป็นของตน เจ้าหน้าที่สำนักงานที่ดินไม่ดำเนินการให้ ลูกหนี้เจ้ามรดกไม่ยอมชำระหนี้ ธนาคารไม่ยอมให้เบิกเงินของผู้ตาย โดยต้องนำเอาคำสั่งศาลตั้งผู้นั้นเป็นผู้จัดการมรดกมาให้ดูมาแสดงเสียก่อนว่าผู้มาติดต่อนั้นศาลได้ตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้วมิฉะนั้นไม่ดำเนินการให้  ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ทายาทจะต้องไปดำเนินการขอให้ศาลแต่งตั้งตนเองหรือบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการมรดก ซึ่งก็จะเสียเวลาพอสมควรกว่าจะยื่นคำร้องขอและกว่าจะไต่สวนคำร้องและศาลมีคำสั่ง 

 




แบบสัญญาประเภทต่าง ๆ แบบพิมพ์สัญญา

แบบฟอร์ม หนังสือยินยอมของคู่สมรส (แบบที่หนึ่ง)
แบบฟอร์ม หนังสือยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม หนังสือมอบอำนาจ ทั่วไป
แบบฟอร์ม หนังสือยินยอมของคู่สมรส (แบบที่สอง)
แบบฟอร์ม สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (ตามที่รังวัดได้จริง)
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (น.ส.3 ก.)
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (ตามที่รังวัดได้จริง-เหมายกแปลง)
แบบฟอร์ม สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
แบบฟอร์ม สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่าตึกแถว
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่าที่ดิน
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่าบ้าน
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่าพื้นที่ในอาคาร
แบบฟอร์ม สัญญาเช่าห้องพักอาศัย (แบบที่หนึ่ง)
แบบฟอร์ม สัญญาเช่าห้องพักอาศัย (แบบที่สอง)
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่า (1)
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (แบบที่หนึ่ง)
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (แบบที่สอง)
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (แบบที่สาม)
แบบฟอร์ม พินัยกรรมแบบธรรมดา (แบบที่สอง)
แบบฟอร์ม พินัยกรรมแบบธรรมดา (แบบที่3)
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
หนังสือให้ความยินยอมในการร้องขอจัดการมรดก
สัญญากู้ยืมเงิน (มีบุคคลค้ำประกัน)
สัญญากู้ยืมเงิน (มีทรัพย์สินวางเป็นประกัน)
สัญญากู้ยืมเงิน (มีทรัพย์สินวางเป็นประกัน)
สัญญากู้ยืมเงิน (จดทะเบียนจำนองทรัพย์สินเป็นประกัน)
สัญญากู้ยืมเงิน (มอบโฉนดไว้เป็นประกัน)
สัญญากู้ยืมเงินตามประมวลกฎหมายใหม่
สัญญาค้ำประกันการกู้ยืมเงิน (แบบที่สอง)
สัญญาค้ำประกันการกู้ยืมเงิน (แบบที่หนึ่ง)
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม หนังสือสัญญาค้ำประกัน
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาค้ำประกัน (2)
แบบฟอร์ม สัญญาค้ำประกันการผ่อนชำระหนี้
แบบฟอร์ม สัญญาค้ำประกันบุคคลเข้าทำงาน
แบบฟอร์ม สัญญาค้ำประกันบุคคลเข้าทำงาน (2)
หนังสือมอบอำนาจ (ให้ยื่นจดทะเบียนต่อนายทะเบียน)
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาจอง
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาเช่าช่วง
แบบฟอร์ม สัญญาเช่าซื้อที่ดินและอาคาร
แบบฟอร์ม สัญญาถือกรรมสิทธิ์ร่วม
แบบฟอร์ม สัญญานายหน้า (ซื้อขายที่ดิน)
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาภารจำยอม
แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาให้สิทธิเก็บกิน
ตัวอย่างสัญญาให้สิทธิอาศัย
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาโอนหุ้น
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม สัญญาโอนสิทธิการเช่า
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ แบบฟอร์ม หนังสือทัณฑ์บน
หนังสือมอบอำนาจ
ตัวอย่าง แบบพิมพ์ หนังสือรับสภาพหนี้
หนังสือรับสภาพหนี้ (แบบที่ 1)
หนังสือรับสภาพหนี้ (แบบที่ 2)
หนังสือหย่าโดยความยินยอม
ตัวอย่างสัญญาซื้อขาย
ตัวอย่าง สัญญาซื้อขายรถยนต์
ตัวอย่าง แบบพิมพ์สัญญาจ้างว่าความ
ตัวอย่างสัญญาขายฝากทั่วไป (แบบขายฝากสังหาริมทรัพย์)
สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างบ้านและสิ่งปลูกสร้าง(โครงการบ้านจัดสรร)
ตัวอย่างสัญญาจ้างพนักงานทดลองงาน